ข้อมูลพื้นฐาน
ฐานข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น
30 พฤศจิกายน 544

170


ตามรายละเอียดที่แนบมาด้วย 

เอกสารแนบ
วัดสุวรรณธาราราม ม.9
30 พฤศจิกายน 544

1199


 

ทดสอบการเพิ่มข้อมูล
30 พฤศจิกายน 542

1979


ตามระเบียบวาระการประชุมนี้  และระเบียบวาระการประชุมลำดับต่อไป  จะเป็นการขออนุมัติจ่ายขาดเงินสะสม  ซึ่งก่อนจะเข้าสู่รายละเอียดของโครงการ ผมจะได้ชี้แจงหนังสือสั่งการที่เกี่ยวกับการใช้จ่ายเงินสะสมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้ที่ประชุมทราบและใช้เป็นแนวทางในการพิจารณาของสภาฯ รวมถึงรายละเอียดประกอบการขออนุมัติใช้จ่ายเงินสะสม ดังต่อไปนี้

  1. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0808.4/ว 3161 ลงวันที่ 12  ตุลาคม 2553 เรื่องซักซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้จ่ายเงินสะสมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน  การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน  และการตรวจเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2547 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2548 ข้อ 89 กำหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถใช้จ่ายเงินสะสมได้  โดยให้เป็นอำนาจของสภาท้องถิ่นที่จะอนุมัติ กระทรวงมหาดไทยพิจารณาเห็นว่า เพื่อให้การใช้จ่ายเงินสะสมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นไปโดยถูกต้อง  ชัดเจนและเป็นไปในแนวทางเดียวกัน  จึงซักซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้จ่ายเงินสะสมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดังนี้
  1. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  อาจใช้จ่ายเงินสะสมได้  โดยได้รับอนุมัติจากสภาท้องถิ่น ทั้งนี้ให้ระบุวัตถุประสงค์ในการใช้จ่ายเงินให้ชัดเจนและให้คำนึงถึงประโยชน์ของประชาชนและท้องถิ่นที่จะได้รับเป็นสำคัญ

ให้กระทำได้เฉพาะกิจการซึ่งอยู่ในอำนาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  และเป็นกิจการที่ประชาชนได้รับประโยชน์โดยตรง  หากไม่ทำจะไม่สามารถแก้ปัญหาความเดือนร้อนของประชาชนได้ 

เอกสารแนบ
ประวัติความเป็นมา
30 พฤศจิกายน 542

4863



 ตำบลกระบี่น้อยมีประวัติความเป็นมาทีน่าสนใจ เนื่องจากมีตำนานเล่าขานกันว่า มีผู้พบอาวุธในสมัยโบราณ ที่ใช้ในการทำสงคราม คือ อาวุธที่มีลักษณะแบบกระบี่ 2 เล่ม ซึ่งพบในระยะเวลาใกล้เคียงกัน แต่ว่าต่างสถานที่กัน สำหรับกระบี่เล่มใหญ่ พบในเขตตำบลกระบี่ใหญ่ (ปัจจุบัน คือ เทศบาลเมืองกระบี่) ส่วนอีกเล่มหนึ่ง พบในเขตตำบลกระบี่น้อย จึงเรียกว่ากระบี่น้อย ปัจจุบันกระบี่ทั้งสองเล่ม ก็คือ สัญลักษณ์ประจำจังหวัดกระบี่นั่นเอง

สภาพทั่วไป

ตั้งและอาณาเขต
           ตำบลกระบี่น้อยอยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอเมืองกระบี่ ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ประมาณ 17 กิโลเมตรมีเนื้อที่ประมาณ 129 ตารางกิโลเมตร หรือ 80,265 ไร่ เทศบาลตำบลกระบี่น้อย ตั้งอยู่ที่ หมู่ที่ 9/9 ม.9 ตำบลกระบี่น้อย อำเภอเมืองกระบี่ จังหวัดกระบี่

อาณาเขต
            ทิศเหนือ จด อำเภอเขาพนม จังหวัดกระบี่
            ทิศใต้ จด ตำบลคลองประสงค์ จังหวัดกระบี่
            ทิศตะวันออก จด อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
            ทิศตะวันตก จด ตำบลทับปริก จังหวัดกระบี่

ลักษณะภูมิประเทศ
     ลักษณะพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบสูงภูเขาอยู่ทางทิศเหนือและทางทิศตะวันตกของตำบล พื้นที่เป็นเนินและเป็นที่ราบต่ำ อยู่ทางตอนกลางและทิศตะวันออกของตำบล ส่วนทางตอนใต้ของตำบลเป็นพื้นที่ราบและเนินสูง ๆ ต่ำ ๆ  ภายในตำบล มีแหล่งน้ำตกและแหล่งน้ำธรรมชาติ เช่น คลองกระบี่น้อย คลองช่องลม คลองบางเตย คลองทับหัวกา สำหรับแหล่งน้ำนี้สามารถใช้ประโยชน์ได้ตลอดทั้งปี แต่ในหน้าแล้งระดับน้ำจะลดต่ำลง

         
         
  เส้นทางการคมนาคม
        เส้นทางในการเดินทางสู่เทศบาลตำบลกระบี่น้อย ระยะทางจากอำเภอเมือง ถึงที่ทำ การประมาณ 17 กิโลเมตร โดยใช้เส้นทางการคมนาคมสายทางหลวงหมายเลข 4 ประมาณ 10 กิโลเมตร

และได้รับการจัดตั้งเป็นเทศบาลตำบลกระบี่น้อย เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2555 

สถานีพัฒนาที่ดินกระบี่
30 พฤศจิกายน 542

1795


 

สถานีวิจัยและทดสอบพันธุ์สัตว์กระบี่
30 พฤศจิกายน 542

2171


 

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสองแพรก
30 พฤศจิกายน 542

1591


 

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาตีน
30 พฤศจิกายน 542

1606


 

มัสยิดหว่างคลอง ม.4
30 พฤศจิกายน 542

762


 

มัสยิดน้ำจาน ม.2
30 พฤศจิกายน 542

773


 

มัสยิดนานอก ม.11
30 พฤศจิกายน 542

935


 

แผนที่ตำบลกระบี่น้อย
30 พฤศจิกายน 542

2436


แผนที่ตำบลกระบี่น้อย ตามเอกสารแนบ

มัสยิดเขาตั้ง ม.8
30 พฤศจิกายน 542

2582


 

สภาพทางเศรษฐกิจ
30 พฤศจิกายน 542

1957


สภาพทางเศรษฐกิจ
        อาชีพ     อาชีพที่สำคัญของตำบล ได้แก่ การเกษตรกรรม ปศุสัตว์ และการประมง

    - เกษตรกรรม โดยทั่วไปพืชเศรษฐกิจที่สำคัญ คือ ยางพารา   ปาล์มน้ำมัน   ข้าว  เมล็ดมะม่วงหิมพานต์   มะพร้าว ไม้ผล ได้แก่ เงาะ ส้มโอ ลองกอง ขนุน  สะตอ   ทุเรียน เป็นต้น
    - การปศุสัตว์ ส่วนใหญ่จะเลี้ยงไว้เพื่อการบริโภค    และจำหน่าย ที่นิยม เลี้ยง ได้แก่ โค กระบือ สุกรแพะ   ไก่ เป็ด เป็นต้น
    -  การประมง ประมงน้ำจืดได้แก่การเลี้ยงปลาในบ่อ เช่น ปลาดุก ปลานิล
    -  อุตสาหกรรม มีโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูป  ผล ผลิตต่อเนื่องทางการเกษตร ได้แก่ โรงสีข้าว ส่วนใหญ่จะมีขนาดเล็กกระจายอยู่ตามหมู่บ้านต่างๆโรงรมควันยาง พารา โรงเตาถ่าน โรงงานแก๊ส โรงงานผลิตเสาเข็ม เป็นต้น

สภาพทางสังคม / ศาสนา

•  การศึกษา
         - โรงเรียนประถมศึกษา 7 แห่ง
         - โรงเรียนมัธยมศึกษา 1 แห่ง
         - ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้านและห้องสมุดประชาชน 1 แห่ง
•  สถาบันและองค์กรศาสนา
         - วัดและสำนักสงฆ์ 5 แห่ง
          - มัสยิด 7 แห่ง
         - ศาลเจ้า 3 แห่ง
•  สาธารณสุข
          - สถานีอนามัยประจำตำบล หรือ หมู่บ้าน 2 แห่ง
•  ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
             สถานีตำรวจ ( ป้อมยาม ) 1 แห่ง
การบริการขั้นพื้นฐาน
การคมนาคม
             การคมนาคมจากองค์การบริหารส่วนตำบลกระบี่น้อยเข้าตัวอำเภอเมืองโดยใช้เส้นทางการคมนาคมสายทาง
หลวงแผ่นดินหมายเลข  4 ระยะทางประมาณ 18 กิโลเมตร โดยมีทางเข้า 2 ทาง คือ  เส้นทางสายบ้านน้ำจาน - เขา
พนม ซึ่งเลยผ่านทางเข้าวัดถ้ำเสือมา อีกประมาณ 3 กิโลเมตร โดยเลี้ยวซ้ายทางเข้าบ้านกระบี่น้อย ระยะทางประมาณ
8 กิโลเมตร โดยมีรถประจำ ทางสายในเมือง - เขาพนม วิ่งผ่านเส้นทางนี้
การโทรคมนาคม
             - ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข ( เอกชน ) 2 แห่ง
             - โทรศัพท์สาธารณะในเขตพื้นที่     11   เลขหมาย
             - โทรศัพท์ที่ทำการ อบต . กระบี่น้อย 1 เลขหมาย
การไฟฟ้า
              - มีไฟฟ้าใช้ครบทุกหมู่บ้าน
              - ไฟฟ้าสาธารณะ จำนวน 130 จุด ครอบคลุมถนน 35 สาย
แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
              - ฝาย 7 แห่ง
              - บ่อน้ำตื้น 25 แห่ง
              - บ่อโยก 15 แห่ง
              - สระเก็บน้ำ 5 แห่ง
              - อ่างเก็บน้ำ 1 แห่ง
ทรัพยากรธรรมชาติ
             - ป่าไม้
             - แหล่งน้ำธรรมชาติ ( น้ำตก )
             - ลำน้ำ / ลำห้วย 20 แห่ง
             - บึง / หนองน้ำ 15 แห่ง

 

วัดโพธิ์เรียง ม.3
30 พฤศจิกายน 542

894


 

วัดกระบี่น้อย ม.6
30 พฤศจิกายน 542

1950


 

โรงเรียนวัดโพธิ์เรียง
30 พฤศจิกายน 542

1636


โรงเรียนบ้านหว่างคลอง
30 พฤศจิกายน 542

1090


โรงเรียนบ้านน้ำจาน
30 พฤศจิกายน 542

1267